
โรคซึมเศร้า เราช่วยได้ พบได้ในทุกช่วงระยะเวลาของชีวิต ครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าคิดฆ่าตัวตาย และครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยที่ฆ่าตัวตายเป็นโรคซึมเศร้า
อาการของโรคซึมเศร้า
1.มีอารมณ์ซึมเศร้า ท้อแท้ เบื่อหน่าย เก็บตัว โดยอารมณ์เศร้าอาจจะเกิดขึ้นเองโดยไม่มีสาเหตุ
2.มีพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ที่พบบ่อยคือ อารมณ์หงุดหงิด ฉุนเฉียวง่าย ขาดสมาธิ ผลการเรียนตก เกเร บางรายอาจจะใช้สารเสพติด หรือหนีจากบ้าน
3.มีอาการทางกาย โดยตรวจไม่พบพยาธิสภาพทางร่างกายเช่น ปวดหัว นอนไม่หลับ ปวดท้อง อาหารไม่ย่อย ท้องอืด ไม่อยากกินอาหาร บางรายอาจมีอาการง่วงนอนตลอดเวลา
กลุ่มเสี่ยง
1.พันธุกรรม ถ้าพ่อ หรือแม่เป็นโรคซึมเศร้า ลูกหนึ่งในสี่มีโอกาสเป็นโรคซึมเศร้า
2.มีปัญหาด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ชีวิตวัยเด็กมีความไม่สบายใจเรื้อรัง เช่นความอบอุ่น ถูกทารุณ ถูกล่วงละเมิดทางเพศ ถูกกระทบกระเทือนทางจิตใจ ถูกว่า ถูกดุบ่อยๆ การเจ็บป่วยเรื้อรัง และพ่อแม่หย่าร้าง
ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าทั้งเด็กและผู้ใหญ่ พบว่า มีการลดลงของสารสื่อประสาท ประเภท “สารสุข”
โดยเฉพาะSerotonin ที่จุดเชื่อมปลายประสาทในส่วนสมองส่วนลิมบิก (Limbic) ทำให้ขาดสมดุล ของสารสื่อประสาท สารสื่อประสาททำงานผิดปกติไป เกิดพยาธิสภาพของโรคซึมเศร้า
9 อาการของโรคซึมเศร้า
1.มีอารมณ์เศร้า หม่นหมอง แทบทุกวันติดต่อกันไม่ตํ่ากว่า สองอาทิตย์
2.รู้สึกไม่มีความสุข หมดความสุขในกิจกรรมที่เคยชอบทำ
3.เบื่ออาหาร นํ้าหนักลดลง หรือกินจุมากขึ้น
4.นอนไม่หลับ หลับไม่สนิท
5.เชื่องช้าไม่ทะมัดทะแมง
6.รู้สึกตนเองไร้ค่า สิ้นหวัง
7.ชอบลืมไม่มีสมาธิ ความคิดช้ากว่าปกติ
8.คิดถึงความตายซํ้าๆ
9.อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง
คุณหมอเส็งได้แนะนําผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ที่ทานได้คือ
*เครื่องดื่มสตาร์ไลฟ์ 111 หรือ เครื่องดื่มสตาร์ไลฟ์ 999 ชนิดใดก็ได้ ครั้งละ 30 cc. เช้า-เย็น
*ยาหอมนํ้า ครั้งละครึ่งขวด เช้า-เย็น
อาการที่เป็นอยู่จะดีขึ้นเป็นอย่างมาก ถ้าจะให้ดีขึ้นต่อเนื่อง ควรทานติดต่อกัน 3-4 เดือน